บรรณาธิการแถลง

Main Article Content

วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

Abstract

วารสารฯ ฉบบันี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ “ภาษาและวฒันธรรม” กองบรรณาธิการได้รับ บทความภาษาไทย ภาษาจีน และภาษาองักฤษ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาเป็นส่วนใหญ่ ทั้ง ข้อเสนอที่น่าสนใจในการสอนภาษาอังกฤษ การวิเคราะห์การใช้ถ้อยคา ในวัฒนธรรมต่างๆ ตลอดจนการแปลวรรณกรรมภาษาองักฤษเป็นภาษาไทย อย่างไรก็ตาม บทความของแต่ละภาษา มีแบบแผนการอ้างอิงที่แตกต่างกัน วารสารฯ จึงยึดถือแบบแผนของแต่ละภาษาเป็นส าคัญ อภิศักดิ์ ภู่พิพัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ าคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ เขียนบทความเรื่อง “„Dareness‟ in English Language Teaching” โดย เสนอให้ผตู้อ้งการเป็นครูสอนภาษาองักฤษที่ดี “กลา้” ที่จะแตกต่าง “กลา้” ที่จะเปลี่ยนแปลง และ “กล้า” ที่จะใช้นวัตกรรมใหม่ๆ มาดึงดูดความสนใจของผูเ้รียน ดังนั้น ผูเ้ขียนจึงใช้ ตวัอกัษรและรูปแบบต่างๆ อย่างหลากหลายเป็นตัวอย่างของสื่อการสอนภาษาองักฤษที่มีความคิด ริเริ่มอย่างน่าสนใจ ระหว่างที่ตรวจเยี่ยมนักศึกษาโครงการแลกเปลี่ยนในประเทศจีน ณัฐฌาภรณ์ เดชราช หวัหน้าภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยัรังสิต ไดส้ ารวจการใช้สรรพนามเรียก ขานภาษาจีนของนกัศึกษาไทยในประเทศจีน แลว้เขียนบทความภาษาจีนเรื่อง北京语言大 学的泰国学生面称称谓语使用情况调查与分析 ที่สรุปความเป็นภาษาไทยได้ ว่า “การวิเคราะห์การใช้คา สรรพนามเรียกขานภาษาจีนของนกัศึกษาไทยในประเทศจีน” เพื่อ ชี้ให้เห็นว่า นกัศึกษาไทยได้แสดงเอกลักษณ์ความเป็นไทยให้เห็นอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ แห่งใด เช่น การแสดงความอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ โดยเลือกใชค้า สรรพนามเรียกขานที่เหมาะสมกับ เพศ วยั และฐานะที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล ในลักษณะเดียวกับการใช้ค าสรรพนามใน ภาษาไทย สา หรับรายงานผลการวิจยัในวารสารฯ ฉบับนี้ เป็นเรื่องของการใชภ้าษาในวฒันธรรมที่ ต่างกัน 3 วรวรรณ เฟื่องขจรศักดิ์ นักศึกษาในระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาศาสตร์ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ ได้เสนอบทความเรื่อง “การใชถ้อ้ยคา แสดงความลงัเลของผหู้ญิงและ
ผชู้ายในบริบทการวิพากษ์วิจารณ์” โดยเลือกกรณีศึกษาจากวฒันธรรมของญี่ปุ่น ซ่ึงทา ให้เห็น ความแตกต่างระหว่างกันอย่างชัดเจน อนัเนื่องมาจากเพศสภาพ

บุษรา เพ็ญสวัสดิ์ นกัศึกษาสาขาวชิาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะศิลปศาสตร์ ได้ศึกษา ลกัษณะและโครงสร้างภาษาไทยจากชื่อละครสั้นในรายการโทรทศัน์ เพื่อจดัทา รายงานการศึกษา ส่วนบุคคลเรื่อง “ข้อความที่ใช้เป็นชื่อเรื่องของละครสั้นในรายการคดีเด็ดที่เผยแพร่ทาง สถานีโทรทศัน์สีกองทัพบกช่อง 7” โดยมี สรไน รอดนิตย์ เป็นอาจารยท์ี่ปรึกษา จนกระทั่งได้ ข้อสรุปว่า การตั้งชื่อละครสั้นในรายการโทรทัศน์ดังกล่าวนั้น ไม่มีรูปแบบโครงสร้างทางภาษาที่ แน่นอนตายตัว ขึ้นอยู่กับ “สาร” ที่ต้องการสื่อให้ผู้ชมละครสั้นแต่ละเรื่องได้รับทราบ ณัฐิปัญ เฟื่องระย้า เป็นนกัศึกษาสาขาวชิาภาษาองักฤษที่สนใจการปรับบทแปล วรรณกรรมเป็นภาษาไทย จึงเสนอ “การวเิคราะห์การปรับบทแปลและกลวธิีการแปลวรรณกรรม เรื่อง „คนตัวจิ๋ว‟” ให้ ดร. นครเทพ ทิพยศุภราษฏร์ พิจารณาเป็นรายงานการศึกษาส่วนบุคคล โดยใชห้ลกัเกณฑข์อง สัญฉวี สายบวั เป็นกรอบแนวคิดในการวเิคราะห์ และพบว่า „สุทธิ โสภา‟ ใช้วิธีการหลายอย่างเพื่อแปลหนังสือเล่มนี้ให้มีอรรถรสใกล้เคียงกับต้นฉบับภาษาอังกฤษ อย่างเป็นธรรมชาติที่สุด บทความสุดทา้ยในฉบับนี้ ชนินทร์ ผ่องสวัสดิ์ ไดแ้นะนา หนงัสือเรื่อง ขุนช้าง-ขุนแผน ฉบับมองคนละมุม ของ „หนอนสุรา‟ ที่เขียนเป็นร้อยแก้วเพื่อให้ผู้อ่านรุ่นใหม่ได้ทราบความ เป็นมาและเนื้อหาโดยย่อของ เสภาเรื่องขุนช้าง-ขุนแผน ที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับวิถีชีวิต ความ เป็นอยู่ ความคิดความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทยในเขตที่ราบภาคกลางได้อย่าง ชดัเจน ผ่านเรื่องราวในชีวิตของขุนช้าง ขุนแผน (พลายแก้ว) และวนัทอง (พิมพิลาไลย) ผู้ แนะน าหนังสือเล่มนี้คงทราบว่า เยาวชนจ านวนหนึ่งได้แสดงความเห็นต่อต้าน เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน อย่างรุนแรง ในเวบ็ไซต์พนัทิป เพราะไม่ทราบว่า นี่คือวรรณคดีสะทอ้นวิถีชีวิตสามญั ชนเพียงเรื่องเดียวของไทย ทั้งยังไม่รู้จักแยกแยะความแตกต่างระหว่างบริบททางประวัติศาสตร์ ในวรรณคดี กับที่ปรากฏในปัจจุบนั จึงไม่เห็นคุณค่าของวรรณคดีเรื่องนี้ หากได้อ่านผลงานของ „หนอนสุรา‟ ก็น่าจะเข้าใจได้ดีขึ้น
เนื้อหาหลกัของวารสารฯ ฉบบัที่ 20 (มกราคม-มิถุนายน 2559) เป็นเรื่องในแนว “ปรัชญาและประวตัิศาสตร์” ส่วนฉบับต่อๆ ไปนั้น กองบรรณาธิการมิได้ก าหนดเนื้อหาหลัก หากแต่จะพิจารณาบทความที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาด้านภาษา วฒันธรรม ปรัชญา และ ประวตัิศาสตร์เป็นส าคญั จึงขอเรียนเชิญให้ผสู้นใจส่งบทความตามแนวเรื่องดังกล่าวมายงักอง บรรณาธิการ เพื่อจะได้พิจารณาต่อไป กัณฐิกา ศรีอุดม บรรณาธิการ

Article Details

Section
Research Articles