การวเิคราะห์การปรับบทแปลและกลวธิีการแปลวรรณกรรมเรื่อง “คนตวัจิ๋ว”

Main Article Content

ณฐัิปัญ เฟื่องระย้า นครเทพ ทิพยศุภราษฏร์

Abstract

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเภทของการปรับบทแปลและกลวิธีการแปลที่ ปรากฏในวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง คนตัวจิ๋ว ซ่ึงแปลจากวรรณกรรมต้นฉบับเรื่อง The Borrowers ประพนัธ์โดยแมรี่ นอร์ตั้น (Mary Norton) โดยใชห้ลกัเกณฑ์ในการปรับ บทแปลของ สัญฉวี สายบวั เป็นกรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ ตัวอย่างจ านวน 20 ตัวอย่าง ซ่ึง แบ่งเป็น 2 ระดบั คือ การปรับระดบัคา และการปรับระดบัโครงสร้างของภาษา ผลการศึกษา พบว่าในระดบัคา ประเภทการปรับบทแปลที่พบมากที่สุดคือ การใชว้ลีหรือประโยคแทนคา ส่วน การปรับบทแปลระดับโครงสร้างของภาษาประเภทที่พบมากที่สุดคือ การปรับระดบัโครงสร้างของ คา ในส่วนของกลวิธีการแปลที่ผแู้ปลใช้นั้น ส่วนใหญ่เป็นการแปลแบบตรงตัว แต่ก็ยังมีการแปล แบบเอาความปะปนอยู่ด้วยขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของเนื้อความแต่ละบริบท ทา ให้งานแปลมี ความเป็นธรรมชาติและสามารถรักษาอรรถรสของเนื้อเรื่องไว้ได้เป็นอย่างดี

Article Details

Section
Research Articles